การใช้เงิน 4 วิธีออมเงิน ใช้ชีวิตแบบพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ ในหลวง รัชกาลที่ 9

การใช้เงิน  การใช้จ่ายเงิน  วางแผนการใช้เงิน  การใช้เงินอย่างฉลาด  การใช้เงินคือ  การใช้เงินให้เกิดประโยชน์  การวางแผนการใช้เงินในชีวิต ประ จํา วัน  การใช้เงินอย่างประหยัด  ใช้เงินเป็น คือ

เดินตามรอย “พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 9 นักออมเงิน” | บทความ โดย Priceza Money

 

การใช้เงิน  ต้นแบบของการ ออมเงิน การใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ไม่ต้องมองหาที่ไหนไกลเลยค่ะ เพราะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นับว่าเป็นต้นแบบที่ดีที่สุดสำหรับเราชาวไทย ซึ่งวันนี้เราก็ได้นำหลักการ วิธีออมเงิน ที่ประยุกต์มาจากการออมเงินของพระองค์ มาให้เพื่อนๆ ได้นำไปลองทำกันค่ะ เป็นวิธีง่ายๆ วางแผนการใช้เงินที่ทำแล้วชีวิตเราจะไม่เป็นหนี้และมีเงินออมอย่างแน่นอน!“…คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีการใช้จ่ายเงิน

ในหลวง ร.9 พระมหากษัตริย์นักออม กับ 8 แนวคิดเรื่องการออม

การใช้จ่ายเงิน

ความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข…”“…ความพอเพียงนี้ ก็แปลว่า ความพอประมาณและความมีเหตุผล…”พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชทานเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา การใช้เงินอย่างฉลาดณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔ วิธีออมเงิน : ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เคยมีพระราชดำริให้มีการจัดทำบัญชีครัวเรือน หรือก็คือบัญชีรายรับรายจ่ายขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รู้จักการวางแผนชีวิต และใช้ชีวิตตามหลักพอเพียง การทำบัญชีแบบนี้ จะทำให้เรารู้รายรับ รายจ่ายในแต่ละเดือน ว่าเงินขาดเหลือเท่าการใช้เงินคือ

ในหลวง ร.9 พระมหากษัตริย์นักออม กับ 8 แนวคิดเรื่องการออม

วางแผนการใช้เงิน

ไหร่ เราซื้ออะไร ใช้อะไรไปบ้างในเดือนนั้น ซึ่งจะทำให้เราสามารถนำมาใช้วางแผนการเงินในครอบครัว ทั้งยังนำมาใช้ในการประกอบอาชีพ ซึ่งทำให้เราเห็นภาพรวมของการลงทุนในแต่ละกิจการ ส่งผลให้เราลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยต่างๆ ลงได้ และนั่นล่ะค่ะ จะทำให้เรารู้จักการออม และใช้จ่ายอย่างรู้คุณค่าวิธีออมเงิน : ใช้เท่าที่มี อย่าสร้างหนี้ หากการไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ การไม่มีหนี้ก็เป็นโชคอันประเสริฐเช่นกันค่ะ เพราะแน่นอนว่าการเป็นหนี้ นอกจากจะไม่ช่วยให้มีเงินออมมากขึ้นแล้ว ยังเป็นการลดทอนเงินส่วนที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวันลงไปด้วย ฉะนั้นจำไว้ค่ะว่า ก่อนจะซื้ออะไร คิดให้ดีก่อนว่าเราพร้อมหรือยัง ซื้อ การใช้เงินให้เกิดประโยชน์

พระมหากษัตริย์นักออม แนวคิดออมเงิน ในหลวง รัชกาลที่ 9

การใช้เงินอย่างฉลาด

เมื่อพร้อม จะช่วยให้เราหลีกหนีจากการเป็นหนี้ได้ดีที่สุดค่ะ โดยหลักการ อย่าสร้างหนี้นั้น สมเด็จย่าได้ทรงอบรมพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาตั้งแต่สมัยวัยเยาว์ ดังจะเห็นได้จากพระบรมราโชวาท ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา วันพฤหัสบดีที่ 9 พ.ย.2538 ความ “…สมเด็จพระบรมราชชนนีท่านได้อบรม ท่านได้สั่งสอนด้วยวิธีการต่างๆ ที่ยังจำได้ เมื่ออายุประมาณ 7 ขวบ ไปอยู่เมืองนอกแล้ว ไปในเมือง ไปที่ร้านของเล่น แล้วอยากซื้อของเล่น อยากได้ จริงแล้วก็ไม่มีเงิน ไม่ได้เอาเงินไป เลยขอยืมผู้ใหญ่เป็นญาติซื้อของเล่น กลับมาท่านเห็นว่าซื้อของมา ท่านถามว่าเอาเงินอะไรไปใช้ บอกว่ายืมเขามา ท่านดุใหญ่ ท่านบอกว่าถ้าไม่มีเงินอย่าไปซื้อของ เป็นหนี้ใครไม่สมควร ท่านก็ถือว่าเป็นระเบียบสำคัญการวางแผนการใช้เงินในชีวิต ประ จํา วัน

พ่อหลวงผู้เป็นต้นแบบแห่ง "การออม" | บริษัท เฮงลิสซิ่ง จำกัด

การใช้เงินคือ

ไปเป็นหนี้เป็นสินนั้นไม่ดี แม้จะเล็กน้อยมันก็พอกเข้าไป นี่ก็รับการสั่งสอนจากแม่ว่าไม่ให้เป็นหนี้…”พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา วันพฤหัสบดีที่ 9 พ.ย.2538ฉะนั้นการบริหารเงินให้เป็น ใช้เท่าที่มี อย่าเกินตัว จะทำให้เรามีเงินเก็บออมในอนาคตอย่างแน่นอนค่ะ แม้สำหรับบางคนจะไม่มากเท่าไหร่ แต่อย่างน้อยที่สุดเราก็ไม่ต้องเป็นหนี้ใครแน่ๆวิธีออมเงิน : มีเป้าหมายในการออมหากเรามีเป้าหมายในการเก็บออมที่แน่ชัด จะช่วยให้เรามีแรงบันดาลใจและแรงใจในการเก็บเงินมากขึ้น เริ่มแรกตั้งเป้าไว้เลยค่ะ ว่าเงินที่เราจะเก็บ การใช้เงินอย่างประหยัด

แนวพระราชดําริการออม' จาก 'พระมหากษัตริย์นักออมเงิน' ของคนไทย

การใช้เงินให้เกิดประโยชน์

ออมนี้ เราเก็บไปเพื่ออะไร เพื่อซื้อของที่อยากได้มานาน เพื่อบ้านในอนาคต หรือเพื่ออนาคตของลูกและของเราในช่วงบั้นปลายชีวิต หากเรามีเป้าหมายที่แน่นอนแล้ว ต่อมาก็คือการเริ่มวางแผนการเก็บเงินค่ะ โดยการวางแผนนี้อาจจะแล้วแต่ความถนัดของแต่ละคนค่ะ หากใครสะดวกเก็บเป็นเดือนก็ตั้งเป้าว่าเดือนนี้จะเก็บเท่าไหร่แล้วใส่อีกบัญชีแยกไว้ หรือถ้าใครสะดวกเก็บเป็นเหรียญ หรือเป็นแบงก์ เช่น แบงก์ 50 ก็ให้เก็บทุกครั้งที่ได้มา ซึ่งการเก็บออมนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก็ทรงเป็นตัวอย่างที่ดีเสมอมาค่ะ พระองค์ทรงเก็บเงินจากค่าขนมเพื่อซื้อของใช้ส่วนพระองค์หลายชิ้น ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรี จักรยาน ของเล่น หรือแม้กระทั่งกล้องถ่ายรูป ซึ่งพระองค์ทรงซื้อกล้องถ่ายรูปตัวแรกด้วยเงินสะสมส่วนพระองค์เอง ใช้เงินเป็น คือในขณะที่พระชนม์เพียง 8 พรรษาเท่านั้น  การใช้เงิน

 

เครติด .nsf.

 

ข่าวแนนำ