สะตอข้าว ชุมชนท่องเที่ยวทั่วไทย

สะตอข้าว กับสะตอ ด้าน อัน ไหน อร่อย    สะตอข้าวต้นเตี้ย    สะตอข้าวกับสะตอดานต่างกันอย่างไร    ต้นสะตอข้าว ราคา    สะตอข้าว คือ    สะตอข้าว อร่อย ไหม   วิธีเลือกสะตอข้าว    สะตอดาน สะตอข้าว

สะตอข้าว  สะตอ คือ ไม้ยืนต้นที่มีฝักแบนยาว มีกลิ่นฉุน  สะตอข้าว กับสะตอ ด้าน อัน ไหน อร่อย โดยสะตอเป็นพืชท้องถิ่นและเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของภาคใต้ สะตอสามารถรับประทานได้ทั้งสุกและดิบ มีรสชาติดีและคุณค่าทางอาหารสูง จะออกฝักได้ดีในช่วงฤดูฝน โดยสะตอมี จำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ สะตอข้าว สะตอดาน และสะตอป่า แต่ที่ผู้คนนิยมบริโภคมากที่สุดจำนวน 2 สายพันธุ์ ได้แก่ สะตอข้าวและสะตอดาน  สะตอข้าว (Figure 1A) มีลักษณะเด่น คือ ฝักบิดเป็นเกลียว เล็ก อาจเป็นฝักสั้นหรือยาว เนื้อ เมล็ดมีกลิ่นไม่ฉุนมาก เนื้อกรอบให้รสหวานมัน สะตอข้าวต้นเตี้ย เปลือกบาง เหมาะที่จะเป็นผักเหนาะ  หลังจากปลูก 3-5 ปี จึงเริ่มติดฝัก  สะตอดาน (Figure 1B)  สะตอดานมีลักษณะเด่น คือ ฝักจะค่อนข้างแบน และตรง ไม่บิดเป็นเกลียวเหมือนสะตอข้าว ฝักใหญ่ เปลือกหนา เมล็ดใหญ่และเนื้อเมล็ดมีกลิ่นค่อนข้างฉุน ฉุนมากกว่าสะตอข้าว รวมถึงเนื้อเมล็ดมีรสเผ็ด เนื้อค่อนข้างแน่นแน่นมากกว่าสะตอข้าว เหมาะสำหรับการทำแกง ผัดเผ็ดต่างๆมากกว่า  หลังปลูกแล้ว 5-7 ปี จึงเริ่มติดฝัก

สะตอข้าว กับสะตอ ด้าน อัน ไหน อร่อย

สะตอข้าว กับสะตอ ด้าน อัน ไหน อร่อย

สะตอแตหรือสะตอป่า  สะตอแตหรือสะตอป่า เป็นสะตอที่พบได้ในป่าลึก ไม่ค่อยพบตามสวนหรือตามบ้านเรือน เพราะไม่นิยมปลูก แต่เชื่อว่าเป็นพันธุ์สะตอดั้งเดิมของสะตอข้าว และสะตอดาน ฝักมีลักษณะ เล็ก และสั้น เนื้อเมล็ดค่อนข้างแข็ง เนื้อให้รสไม่อร่อยสะตอสามารถใช้กินเป็นผักแกล้ม สะตอข้าวกับสะตอดานต่างกันอย่างไร  กับน้ำพริกหรือแกงเผ็ดต่าง ๆ เช่น แกงกะทิ แกงส้ม โดยนิยมกินเมล็ดสดทั้งแกะเปลือกหุ้มเมล็ดหรือไม่แกะเปลือกหุ้มเมล็ด หรืออาจจะนำเมล็ดสะตอไปดัดแปลงโดยน้ำมาดอง ต้มหรือนำเอาทั้งฝักไปเผาไฟ เรียกว่า “ตอหมก” โดยนอกจากกินเป็นผักแกล้มแล้ว ยังใช้สามารถเมล็ดสะตอปรุงอาหารอื่นๆ ได้อีกด้วย เช่น ผัดกะปิกุ้งสด สะตอผัดหมู ผัดเผ็ด ต้มกะทิ เป็นต้นการปลูกสะตอนิยมปลูกด้วยการเพาะเมล็ด โดยมีลักษณะการปลูกที่นิยมปลูกแซมกับพืชอื่น เช่น ปลูกแซมในสวนปาล์ม สวนยาง เป็นต้น การขยายพันธุ์ทำได้โดยวิธีการเพาะเมล็ด และการติดตา แต่วิธีที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือ วิธีการเพาะเมล็ด โดยเลือกเมล็ดจากฝักแก่ ต้นสะตอข้าว ราคา ลอกเอาเยื่อหุ้มเมล็ดออกแล้วนำไปแช่น้ำ 1 คืน นำมาสะเด็ดน้ำให้แห้ง เพาะในถุงเพาะชำหรือแปลงเพาะกล้า จากนั้นรดน้ำให้ชุ่มชื้นทุกวัน ๆ ละ 1-2 ครั้ง ภายใน 2-3 วัน เมล็ดจะเริ่มงอก จนอายุ 1 ปี จะมีใบออกประมาณ 3-4 ใบ จึงสามารถนำไปปลูกได้ โดยจะเริ่มให้ผลผลิตครั้งแรกเมื่อมีอายุ 4-7 ปี ตั้งแต่เริ่มปลูกโดยในต้นละตอหนึ่งจะให้ผลผลิตได้ประมาณ 200-300 ฝัก และจะให้ฝักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปีตามอายุ

สะตอข้าวต้นเตี้ย

สะตอข้าวต้นเตี้ย

อย่างที่ทราบกันดีแม้สะตอจะเป็นผักที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงแต่กลับมีกลิ่นที่รุนแรง ทำให้หลายคนไม่ชอบรับประทาน แต่ด้วยความอร่อยก็ยากที่จะห้ามใจไหว ในเมื่อทานได้ก็มีวิธีดับกลิ่นสะตอมาฝากกัน ด้วยการรับประทานมะเขือเปราะตามไปประมาณ 2–3 ลูก หรือ ให้กินแตงกวา สะตอข้าว คือ หรือ เคี้ยวใบอ่อนฝรั่งตามเข้าไปหลังจากกินสะตอ และก่อนนำไปปรุงอาหาร ให้ลวกสะตอด้วยน้ำร้อนแล้วล้างน้ำอีกรอบ ก็จะช่วยดับกลิ่นเหม็นเขียวของสะตอได้ดีในระดับหนึ่งประโยชน์ของสะตอ  แม้สะตอจะมีกลิ่นฉุน แต่รู้ไหมว่าสะตอมีประโยชน์มากมาย เพราะมีทั้งแร่ธาตุ วิตามินที่มีประโยชน์ หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นโปรตีน แคลเซียม คาร์โบไฮเดรต เหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอ บี และซี, ช่วยขับลมในลำไส้, แก้ปัสสาวะพิการ, ไตพิการ, ช่วยลดน้ำตาลในเส้นเลือดได้, มีใยอาหาร, ช่วยให้การขับถ่ายคล่อง สะตอข้าว อร่อย ไหม  ลดอาการท้องผูก, ป้องกันการเกิดริดสีดวงทวาร,  ช่วยบำรุงสายตา, ช่วยทำให้เจริญอาหาร, ช่วยป้องกันหลอดเลือดอุดตัน,ช่วยลดความดันโลหิต,ช่วยทำให้เม็ดเลือดแดงเกาะกลุ่มกันได้ดีขึ้น,มีผลต่อการแบ่งตัวของเซลล์,ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด, เชื่อว่าการรับประทานเป็นประจำจะช่วยป้องกันการเกิดโรคเบาหวานได้

สะตอข้าวกับสะตอดานต่างกันอย่างไร

สะตอข้าวกับสะตอดานต่างกันอย่างไร

ช่วยขับลมในลำไส้,ช่วยกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้, ช่วยในการขับปัสสาวะ, สะตอมีฤทธิ์เป็นยาระบาย, ช่วยในการขับถ่าย, ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย, ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา, ใบของสะตอใช้ทำเป็นปุ๋ยบำรุงดิน นอกจากนี้การกินสะตอเป็นประจำสามารถป้องกันโรคเบาหวานได้ด้วยสรรพคุณสะตอ วิธีเลือกสะตอข้าว และฤทธิ์ทางเภสัชกรรมฤทธิ์ต่อการแบ่งตัวของเซลล์เม็ดเลือดขาว สารที่ออกฤทธิ์ คือ สารเลคติน ช่วยกระตุ้นภูมิต้านทานให้แก่ร่างกายฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อรา และแบคทีเรีย สารที่ออกฤทธิ์ ได้แก่ สารในกลุ่ม polysulfidesฤทธิ์กระตุ้นการเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดง (heamaglutination) สารที่ออกฤทธิ์ คือ สารเลคตินฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด โดยเฉพาะสาร β-sitosterol และstigmasterol ที่ออกฤทธิ์ลดในตาลในเลือดได้ดีฤทธิ์กระตุ้นให้ลำไส้บีบตัวของลำไส้ ช่วยให้อุจจาระอ่อนตัว และช่วยกระตุ้นการขับถ่ายการทานสะตอสามารถทานได้แต่ในปริมาณที่ไม่มากจนเกินไป สะตอดาน สะตอข้าว เพราะโทษของสะตอคือสะตอมีกรดแจงโคลิก (Djenkolic acid)  เป็นกรดกำมะถัน เป็นสารพิษในสะตอเล็กน้อย เพราะหากมากจนเกินไปอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัว และยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคเกาต์ โรคไตวายเฉียบพลัน โรคนิ่ว เป็นที่ทราบกันดีว่าสะตอนั้นมีกลิ่นฉุน หากรับประทานในปริมาณที่มากจนเกินไปอาจทำให้มีกลิ่นปากและปัสสาวะมีกลิ่น  สะตอข้าว 

เครดิต    bangkokbiznews.com

ข่าวแนะนำ